Page 6 - กศน.อำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์ ( Best Practice )
P. 6

ขั้นที่ 6  น าผลการประเมินมาพัฒนาปรับปรุง/สรุปผลการด าเนินงาน
                                 1) น าผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงส่วนที่เป็นจุดอ่อนและพัฒนาในส่วนที่ดีเป็นที่
                                                     ้
               ยอมรับให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้นเพื่อให้มีความมั่นคงเขมแข็งตลอดไป
                                    2) น าข้อมูลจากการเสนอความคิดเห็นในการประชุมมาวิเคราะห์จุดเด่นจุดด้อยและร่วม

               กันหาแนวทางในการปรับปรุงต่อไป
                                   3) สรุปผลการด าเนินงานและหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคปรับปรุงจุดด้อยและ
               ข้อบกพร่องต่างๆเพอปรับวิธีการขั้นตอนการด าเนินงานให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืน
                                ื่
                       6. ผลการด าเนินการ
               ชุมชนที่ร่วมส่งเสริมการอ่านบ้านหนังสือชุมชน เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถ
                                 ึ
               ให้แก้ไขปัญหาที่นักศกษา กศน. เด็ก และประชาชนทั่วไปไม่ชอบอ่านหนังสือ จึงเป็นโครงการที่ท าให้
               กลุ่มเป้าหมายมีนิสัยรักการอ่านที่ ซึ่ง ครู กศน.ต าบล ต้องมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการพัฒนา

               คุณภาพของการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ โดยพัฒนาความรู้ ออกแบบกิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่มีความ
               หลากหลายและทักษะการปฏิบัติงานเพิ่มขึ้น ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพส่งผลต่อสถานศึกษา ท าให้
               สถานศึกษาเป็นที่ยอมรับและศรัทธา โดยการขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ซึ่งใช้แหล่งเรียนรู้ บ้าน
               หนังสือชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สนับสนุนการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่งบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม

               ของคนในชุมชน ชุมชนที่จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านบ้านหนังสือสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้บรรลุเป้าหมายได้
               นั้น เกิดจากการที่สมาชิกใน
                       ชุมชนผู้น าชุมชน/ผู้น าหมู่บ้าน เล็งเห็นความส าคัญของการส่งเสริมการอ่านของบ้านหนังสือชุมชนที่
               เป็นแหล่งเรียนรู้ น าสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ไปพัฒนาตนเอง พัฒนางาน พัฒนาหมู่บ้าน ท าให้มีผู้มาใช้บริการ

               หลากหลายกลุ่มอายุ ทั้ง เด็ก เยาวชน ประชาชนในหมู่บ้าน และหมู่บ้านใกล้เคียง รู้จักการใช้เวลาว่างให้เกิด
               ประโยชน์ จนท าให้ชุมชนมีความภาคภูมิใจศรัทธาต่อสถานศึกษาและช่วยกันพัฒนาเพิ่มขึ้น


               7. บทเรียนที่ได้รับ
                       1. การปฏิบัติงานที่เป็นระบบมีแนวปฏิบัติที่ชัดเจนมีการสนับสนุนมีการนิเทศก ากับติดตามอย่าง
               ต่อเนื่องย่อมส่งผลให้งานบรรลุผลส าเร็จตามเป้าหมาย
                       2. การน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการด าเนินงานช่วยท าให้
               ได้มีหลักคิดและแนวทางในการด าเนินงานที่หลากหลายขึ้น เช่น การเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม

               พอประมาณกับงบประมาณ เป็นต้น
                       3. การปรับเปลี่ยนหรือพัฒนาระบบการท างานนั้นมีการประชุมชี้แจงถึงความส าคัญและ
                                                                                 ึ
               ผลดีที่จะเกิดจากการพัฒนางานร่วมกันความจริงจังในการปฏิบัติงานของสถานศกษาการท างานเป็นทีมการมี
                                                         ื
               ส่วนรับผิดชอบร่วมกันในการปฏิบัติงานความร่วมมอร่วมใจการเอาใจใส่เสียสละการอุทิศตนของผู้เกี่ยวข้อง
                                                   ุ
               ส่งผลให้งานประสบผลส าเร็จได้ผลงานที่มีคณภาพ

               8.ปัจจัยความส าเร็จ

                       ปัจจัยที่น าไปสู่ความส าเร็จของการด าเนินงานเกิดจากความร่วมมือของบุคลากรฝ่ายต่างๆและปัจจัย
               เกื้อหนุนดังนี้





               แบบเสนอผลงาน/นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11