Page 4 - กศน.อำเภอห้วยเม็ก จังหวัดกาฬสินธุ์ ( Best Practice )
P. 4

ผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice
                                          ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน : หลักสูตรการท าปลาร้าบอง

                                  ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอห้วยเม็ก


               ๑. ความส าคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่น าเสนอ

                       จากนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงานของส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
               ปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ด้านการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานท าอย่างยั่งยืนโดยให้ความส าคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ

               เพื่อการมีงานท าในกลุ่มอาชีพ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการบริการ
                                                     ั
               ร่วมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐานที่สอดคล้องกบศักยภาพของผู้เรียนตามความต้องการและศักยภาพของแต่ละพื้นที่
               ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหนึ่งอาชีพที่เด่น ต่อ หนึ่ง ศูนย์ฝึกอาชีพ ร่วมทั้งมีการ

               ก ากับติดตามและการรายงานผลการจัดการศกษาอาชีพเพื่อการมีงานท าอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
                                                    ึ
                       โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เป็นการจัดการเรียนรู้อาชีพให้แก่ประชาชนที่ว่างงานหรือที่มีอาชีพอยู่แล้วต้องการ

               ต่อยอดอาชีพเดิมเพื่อให้มีอาชีพ มีงานท าและมีรายได้ กศน.อ าเภอห้วยเม็กจึงได้ด าเนินการจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
               การท าปลาร้าบอง เนื่องจากปลาร้าบองเป็นอาหารพื้นบ้านของชาวอิสานที่เป็นต้นต ารับ ท ามาตั้งแต่สมัยโบราณตาม

               วัฒนธรรมอิสาน การจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนการท าปลาร้าบองเป็นการจัด ให้กับคนในชุมชน หมู่บ้าน โดยใช้วัสดุที่

                                        ิ่
               มีในชุมชนน ามาแปรรูปเพื่อเพมมูลค่าให้กับสินค้า อันจะส่งผลให้ชุมชนมีการพัฒนาอาชีพและความเป็นอยู่ที่มั่นคง
                       การท าปลาร้าบอง เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมด้านอาชีพเพอให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถสร้าง
                                                                                   ื่
               รายได้ ที่มั่นคง โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับบริบทชองชุมชนโดยใช้ทรัพยากรมีอยู่แล้วในท้องถิ่นให้เกิดเป็นอาชีพ

               มีการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านในการถนอมอาหาร และแปรรูปอาหาร โดยคงไว้ซึ่งคุณค่าด้านโภชนาการ และเป็นการเพม
                                                                                                              ิ่
               มูลค่าของวัตถุดิบที่มีในท้องถิ่นให้มีมูลค่ามากยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้ครอบครัวน าไปสู่การพึ่งพาตนเองได้

               ๒. จุดประสงค์และเป้าหมาย ของการด าเนินงาน

                       1. เพื่อให้กลุ่มอาชีพในการท าปลาร้าบอง ได้พัฒนาทักษะ การท าปลาร้าบองให้มีรสชาติที่หลากหลายเพิ่มมากขึ้น
                      ๒. เพื่อมีสูตรการท าปลาร้าบองให้ดึงดูดความสนใจ ของประชาชน
                      ๓. เพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักศึกษาและประชาชนทั่วไป
                      ๔. เพื่อให้กลุ่มอาชีพในการท าปลาร้าบองมีอาชีพเสริมสร้างรายได้เลี้ยงตนเองและครอบครัว


               3. กระบวนการผลิตผลงาน หรือขั้นตอนการด าเนินงาน
                       1. ส ารวจความต้องการความสนใจของประชาชนในชุมชนด้านอาชีพ
                       ๒. วิเคราะห์ข้อมูลด้านความสนใจความต้องการของชุมชน

                       ๓. การวางแผนจัดกิจกรรม ติดต่อประสานงานวิทยากร จัดหาวัสดุฝึก
                       ๔. การจัดกิจกรรม ให้ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการท าปลาร้าบอง ให้มีหลากหลายรสชาติ
                       ๕. การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้สวยงามดึงดูดความสนใจ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9