Page 3 - กศน.อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ( Best Practice )
P. 3

๓


                 ใส่ในกระบวนกำรผลิตที่เน้นคุณภำพ ควำมประณีต ละเอียดของคัดเส้นกก กำรย้อมสี กำรทอต้องมีควำมสม่ ำเสมอ
                                       ่
                 และที่สำคัญกำรเก็บรักษำกอนที่สู่กระบวนกำรแปรรูป
                           ๓. กำรบริหำรจัดกำรกลุ่มอย่ำงเป็นระบบ มีกำรบริหำรจัดกำรที่ชัดเจน มีกำรแบ่งหน้ำที่ตำมโครงสร้ำง

                 คณะกรรมกำรที่ชัดเจน กำรวำงแผนผลิตที่รัดกุม พร้อมก ำหนดเป้ำหมำยกำรผลิต กำรจ ำหน่ำยที่ชัดเจน เพื่อเกิดพลัง
                 และแรงผลักในกำรที่จะท ำงำน เมื่อทุกคนเห็นเป้ำหมำยต่ำงก็ช่วยกันที่จะไปสู่เป้ำหมำยด้วยกันให้จงได้กล่ำวคือ มีกำร

                 วำงแผนกำรผลิตว่ำปีนี้จะต้องผลิตเท่ำไหร่ ผลิตแล้วจะขำยที่ไหน จะขำยให้ได้เท่ำไหร่ สมำชิกถึงจะมีรำยได้เพียงพอ
                 กับกำรใช้จ่ำยในครัวเรือน เป็นต้น



                           ๔. กำรใช้หลักธรรมเป็นแนวทำงในกำรท ำงำน คือ กำรมองที่ตนเองเป็นสำคัญ โดยมองว่ำ ก ำลังตนเองมีอยู่ที่
                 เท่ำไหร่ วัตถุดิบมีเท่ำไหร่ ท ำได้หรือไม่ ท ำแล้วไม่ท ำลำยหรือกระทบต่อสิ่งอนๆ และที่ส ำคัญกำรท ำงำนร่วมกันใน
                                                                                 ื่
                                        ึ่
                 รูปแบบกลุ่มต้องอำศัยกำรพงพำอำศัยกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน กำรแบ่งปัน กำรให้ควำมรัก ควำมศรัทธำ
                 ไว้วำงใจและเข้ำใจกันเป็นสิ่งที่สำคัญ
                                                                                                ั
                            ๕. กำรคิดค้น พฒนำและน ำเทคนิค วิธีกำร เทคโนโลยีสมัยใหม่ เข้ำมำช่วยในกำรพฒนำและสร้ำงสรรค์
                                      ั
                 ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มให้มีจุดเด่นและเป็นที่ต้องกำรของผู้ซื้อมำกขึ้น เช่น กำรย้อมสีเส้นกก กำรมัดหมี่เส้นกกเป็นลวดลำย
                 ต่ำงๆ เพอเพมจุดเด่น มีสีสันสวยงำม เพมมูลค่ำผลิตภัณฑ์และดึงดูดควำมสนใจแก่ลูกค้ำ รวมถึงกำรแปรรูปเป็น
                            ิ่
                        ื่
                                                   ิ่
                                                                                           ิ
                 เครื่องใช้ภำยในครัวเรือนที่หลำกหลำย ได้แก่ เสื่อพับ หมอนอิง กระเป๋ำ กล่องใส่กระดำษทชชูทั้งทรงสี่เหลี่ยมและทรง
                                                      ี
                 กลม กล่องไม้จิ้มฟน เบำะรองนั่ง เป็นต้น อกทั้งมีกำรน ำวัสดุสมัยใหม่เข้ำมำเป็นส่วนประกอบในกำรผลิต คือ ใย
                                ั
                 สังเครำะห์ มำเสริมเพื่อให้เกิดควำมนุ่ม สบำยในกำรใช้งำนผลิตภัณฑ์เสื่อกกด้วย ซึ่งได้รับควำมนิยมเป็นอย่ำงมำก จน
                                                               ื้
                 สำมำรถพดได้เลยว่ำ ถ้ำถำมเรื่องผลิตภัณฑ์เสื่อกกในพนที่อำเภอสหัสขันธ์ ต้องเป็นเสื่อกกลำยขิดของบ้ำนโนนน้ ำ

                         ู
                 เกลี้ยงหมู่ที่ ๑ เท่ำนั้น
                           ๖. เข้ำรับกำรฝึกอบรม พัฒนำผลิตภัณฑจำกหน่วยงำนรำชกำรต่ำงๆ ขอค ำปรึกษำแนะน ำและส่งผลิตภัณฑ์
                                                        ์
                 เข้ำรับรองมำตรฐำนเป็นประจ ำ
                           ๗. กำรพัฒนำต่อยอดผลิตภัณฑ์เสื่อกก และเกิดเป็นนวัตกรรมใหม่กลุ่มหัตถกรรมกำรทอเสื่อกกลำยขิด  มีกำร

                 ถ่ำยทอดภูมิปัญญำ องค์ควำมรู้กำรทอเสื่อกกให้กับเยำวชน ลูกหลำนรุ่นใหม่ เพอหวังที่จะให้เป็นผู้สืบทอดภูมิปัญญำ
                                                                                 ื่
                 องค์ควำมรู้อันทรงคุณค่ำนี้ให้คงอยู่ต่อไป
                           ๘. เข้ำร่วมกำรจ ำหน่ำยสินค้ำ ผลิตภัณฑ์ระดับภูมิภำค ระดับประเทศ และพัฒนำช่อทำงกำรตลำดรูปแบบ

                 ใหม่ๆ ตลอดเวลำ

                           ๙. กำรถ่ำยทอดภูมิปัญญำสู่เยำวชน เพื่อเป็นผู้สืบทอด และพัฒนำ ต่อยอดภูมิปัญญำอันทรงคุณค่ำนี้ให้คงอยู่
                 สืบต่อไป



                   ๒. จุดประสงค์และเป้าหมาย ของการด าเนินงาน


                                 ๑. ลดกำรว่ำงงำนคนในหมู่บ้ำน

                             ๒. ส่งเสริมกำรสร้ำงงำน สร้ำงอำชีพเสริม และเพมรำยได้ให้คนในหมู่บ้ำน
                                                                 ิ่
                                        ์
                             ๓. เป็นกำรอนุรักษ สืบสำนภูมิปัญญำท้องถิ่น
   1   2   3   4   5   6   7   8