Page 5 - กศน.อำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ( Best Practice )
P. 5

๕


                   ๔.  ประเมินผลของชิ้นงาน                                           ดี
                   ๕.  ประเมินผลของชิ้นงานหลังการเรียนรู้                          ดีเยี่ยม

                   ๖.  ประเมินความสนใจของผู้เรียนระหว่างการ                        ดีเยี่ยม
                        เรียนรู้

                   ๗.  ระยะเวลาในการจัดการเรียนการสอน                                ดี
                   ๘.  วัสดุอุปกรณ์                                                  ดี












                             ๑.๓. ปรับปรุงแก้ไข (Act) หมายถึง การน าผลการประเมินมาพัฒนาแผน

                         หลังจากการประเมินคุณภาพของเสื่อกกแล้ว พบว่า วัสดุและอุปกรณ์ควรมีการเตรียมให้เพียงพอ ดังนั้นใน

                 การจัดการเรียนการสอนครั้งต่อไปควรจัดให้มีมากขึ้น

                         ๒. การจัดการความรู้ (Knowledge Management)

                         คือ การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจาก
                 ข้อมูล ไปสู่สารสนเทศ เพื่อให้เกิดความรู้และปัญญาในที่สุด ในการศึกษาครั้งนี้ได้แบ่งการจัดการความรู้ออกเป็น ๓
                       ื
                 ระดับคอ

                                 ๒.๑.  ความรู้เชิงทฤษฎี (Know-What) และ  ความรู้เชิงทฤษฎีและบริบท (Know-How)เป็นการศึกษา
                 จากปราชญ์ชาวบ้านซึ่งมีความรู้อย่างทักษะและประสบการณ์ ถึงขั้นตอนในการเลือกต้นกก การทอเสื่อกก นั้นมี
                 ขั้นตอนอย่างไรเป็นความรู้ที่ได้เชิงข้อเท็จจริง เป็นความรู้ใหม่
                                  ๒.๒. ความรู้ในระดับที่อธิบายเหตุผล(Know-Why) เป็นความรู้ที่ผู้เรียนสามารถพดคุยและแลกเปลี่ยน
                                                                                               ู
                 ข้อมูลกับวิทยากรได้
                                               ุ
                                   ๒.๓. ความรู้ในระดับคณค่า ความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเริ่ม
                 สร้างสรรค์ โดยผู้เรียนได้รับความรู้จากวิทยากรแล้วน ามาวิเคราะห์ความรู้และข้อเท็จจริงที่ได้รับร่วมกัน และ

                 ประมวลผลเป็นสารสนเทศบนเว็บ

                 ขั้นตอนการด าเนินงานครั้งนี้ได้แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนหลัก ดังนี้


                      1. ระยะต้นน้ า เป็นระยะของการออกส ารวจและวางแผนเบื้องต้นประกอบด้วย 2 ขั้นตอนย่อย ดังนี้
                        1.1. ส ารวจความต้องการของชุมชนร่วมกับเทศบาล และผู้ใหญ่บ้านเพื่อส ารวจความต้องการ
                        1.2. วางแผนการจัดร่วมกับกลุ่มผู้ทอเสื่อกก
                      2. ระยะกลางน้ า เป็นระยะของการด าเนินตามแผนที่วางไว้ ประกอบด้วย ๒ ขั้นตอนย่อยดังนี้


                        2.1. พัฒนาลายเสื่อกกเป็นลายขิดไดโนเสาร์และขายขิดหมัดหมี่

                        2.2. พัฒนาเสื่อกกเป็นผลิตภัณฑ์ของใช้

                     3. ระยะปลายน้ า เป็นระยะของการปรับปรุงและสรุปผลการด าเนินงาน ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนย่อย ดังนี้
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10