Page 8 - กศน.อำเภอคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์ ( Best Practice )
P. 8

๔. การย้อมเส้นไหมยืน


                       เตรียมน้ าย้อมสีเส้นไหม โดยทั่วไปผ้าแพรวาในสมัยโบราณเส้นยืนจะใช้สีแดง ที่มาจากครั่ง น าครั่งมาต า
               ให้ละเอียด จากนั้นน าไปแช่น้ านานประมาณ ๑ คืน ท าการกรองน้ าย้อมสีด้วยผ้าบาง ปริมาณครั่งที่ใช้ในการ
               เตรียมน้ าย้อมประมาณ ๕ กิโลกรัมต่อน้ า ๒๐ ลิตรต่อเส้นไหม ๑ กิโลกรัม น าเส้นไหมที่เตรียมไว้มาท าการย้อม

                                                           ึ
               โดยเริ่มจากการการย้อมเย็นเพื่อให้น้ าย้อมสีสามารถซมเข้าไปในเส้นไหมได้อย่างทั่วถึง และสม่ าเสมอ ป้องกัน
               การเกิดสีด่างบนเส้นไหม เมื่อน้ าย้อมได้ซึมเข้าเส้นไหมจนทั่วแล้ว ก็ให้ยกหม้อต้มย้อมขึ้นตั้งบนเตาเพื่อเพิ่ม
                                 ุ
               ความร้อนจนกระทั่งอณหภูมิอยู่ที่ระดับ๙๐ องศาเซลเซียส ใช้เวลาประมาณ ๓๐ นาที หรือสังเกตได้จากการที่
               น้ าย้อมจะใส จากนั้น ให้น าเส้นไหมที่ย้อมสีเรียบร้อยแล้วไปล้างน้ าสะอาด ๒-๓ ครั้ง แล้วท าการบีบน้ าให้แห้ง
               ท าการตากผึ่งให้แห้ง
















                           ๕. การเตรียมเส้นยืน

                      น าเส้นไหมยืนที่ท าการย้อมสีด้วยสีแดงเขมของครั่ง มาท าการค้นเครือหูก หรือที่เรียกว่าการค้นเส้นยืน
                                                     ้
               โดยใช้หลักเฝือเป็นอุปกรณ์ในการค้นเส้นยืน การเตรียมค้นเส้นยืนจะเริ่มต้นโดยการน าเส้นไหมไปสวมเข้าในกง

               เพื่อท าการกรอเส้นไหมเข้าอก จากนั้นก็ท าการค้นเส้นยืน โดยมีหลักการนับ คือ รอบละ๒เส้น ๒รอบเป็น๔เส้น
                                       ั
               เรียกว่า ๑ ความ ๑๐ ความ เท่ากับ ๑ หลบ การนับจ านวนความจะใช้ซี่ไม้มาคั่นเพื่อป้องกันความผิดพลาดที่
               อาจจะเกิดขึ้นได้ ดังนั้น ๑ หลบจะมีเส้นไหม ๔๐ เส้น หลบ คือ หน้ากว้าง ในสมัยโบราณนิยมทอผ้าสไบหน้า
               กว้างจะใช้ ๘ หลบ ต่อมามีการขยายหน้ากว้างเพิ่มเช่น ๒๒ หลบ ๓๔ หลบ เป็นต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการ

               ออกแบบตั้งแต่เริ่มแรก
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13