Page 5 - กศน.อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ( Best Practice )
P. 5

๕


                       ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัยอาเภอยางตลาดจึงได้ น าหลักการพฒนาคน

                                                                                                      ั
                                                               ั
                                                                                                     ี
               ให้มีคุณภาพมาใช้ในการวางแผนให้มีความส านึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริต ความขยันหมั่นเพยร มานะ
               อดทนใช้สติปัญญาในการด าเนินชีวิตด้วยความรอบคอบ โดยยึดผู้เรียนเป็นส าคัญ มีการจัดการเรียนการสอน
                                                                                          ั
               ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา คือ “ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัยอาเภอยางตลาด


               จัดการศึกษาภาคประชาชน  เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตส าหรับประชาชนอาเภอยางตลาด” ผู้เรียนมีความรู้คู่คณธรรมโดยน้อมน า
                                                                                               ุ
               หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยงมาบูรณาการในกระบวนการจัดการเรียนการสอน สามารถน ามาประยุกต์ให้เกิดผล
                                        ี
               ในทางปฏิบัติในการด ารงชีวิตประจ าวันทั้งต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและ

               เกิดประสิทธิผล ได้ขับเคลื่อนการด าเนินงานจัดการเรียนรู้และกิจกรรมพฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้านหลักปรัชญา
                                                                             ั
                                ี
               ของเศรษฐกิจพอเพยงในสถานศึกษาที่สามารถจัดกระบวนการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
                        ื่
               พอเพยงเพอให้ผู้บริหาร ครู บุคลากร ผู้เรียนและภาคีเครือข่าย ได้น้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยงไปใช้
                                                                                                       ี
                    ี
               ในชีวิตประจ าวันและประกอบกิจการงานต่าง ๆ รวมทั้งสามารถเป็นแบบอย่างในการน้อมน าหลักปรัชญา       ของ
               เศรษฐกิจพอเพียงได้ และเพื่อให้การพัฒนาเป็นไปอย่างมีคุณภาพและยั่งยืนตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

               พอเพียง


               2.จุดประสงค์และเป้ำหมำยของกำรด ำเนินงำน

                       2.1จุดประสงค์

                       - เพอให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยงด้วยกระบวนการ“หลุม
                                                                                       ี
                          ื่
               พึ่งพิง” (K)
                          ื่
                       - เพอให้ผู้เรียนเกิดทักษะและน าความรู้ที่ได้จากการถอดบทเรียนโดยใช้วิธีการจัดการความรู้ (KM) ไปใช้
               ในการพัฒนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยกระบวนการ“หลุมพึ่งพิง” ให้กับชุมชนได้ (P)
                                                                                              ี
                       - เพื่อให้ผู้เรียนสามารถน าความรู้และทกษะมาถ่ายทอดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยงด้วย
                                                       ั
               กระบวนการ  “หลุมพึ่งพิง”ให้กับชุมชนและเครือข่าย (A)

                       2.2 เป้ำหมำย


               - เชิงปริมำณ

                       นักศึกษา กศน./ประชาชน หมู่บ้านต้นแบบ กศน.ต าบล อ าเภอยางตลาด จ านวน 15 แห่ง

               - เชิงคุณภำพ


                       นักศึกษา กศน./ประชาชน หมู่บ้านต้นแบบ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ ในการด ารงชีวิตตามหลักปรัชญา
               ของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะมาถ่ายทอดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยกระบวนการ“หลุมพึ่งพิง” ให้กับชุมชน

               และเครือข่ายได้
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10