Page 8 - กศน.อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ( Best Practice )
P. 8

๘


               น ำผลกำรประเมินมำปรับปรุง/พัฒนำงำน (Action)


                       1. น าผลการประเมินมาวิเคราะห์หาจุดเด่นจุดด้อยเพื่อพัฒนาแก้ไขและเสนอในข้อควรปรับปรุง
                       2. ท ารายงานผลการใช้นวัตกรรม
                       3. สรุปผลการด าเนินงานและเผยแพร่ผลงาน


               4.ผลกำรด ำเนินกำร/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ



                                                            ั
                       ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัยอาเภอยางตลาด สังกัด ส านักงานส่งเสริมการศึกษา
                                          ั
               นอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัยจังหวัดกาฬสินธุ์ สามารถเป็นแบบอย่างในการน้อมน าหลักปรัชญาของ
                                                 ั
                             ี
               เศรษฐกิจพอเพยงได้ และเพอให้การพฒนาเป็นไปอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน ตามแนวทางหลักปรัชญาของ
                                        ื่
               เศรษฐกิจพอเพยง โดยคู่มือการด าเนินงานโครงการขยายผลการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยงและเกษตรทฤษฎีใหม่
                                                                                        ี
                            ี
               ด้วยกระบวนการ “หลุมพึ่งพิง” โดย กศน.ต าบล จ านวน 15 แห่ง ส่งผลให้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
                    ั
               ตามอธยาศัยอาเภอยางตลาด ได้รับรางวัลสถานศึกษามีผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศระดับประเทศ ปี พ.ศ. 2559

                                         ี
                                                                                 ื้
               รางวัล “ศูนย์สถานศึกษาพอเพยง มูลนิธิยุวสถิรคุณ” พร้อมทั้งขยายผลในทุกพนที่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
                             ั
               การศึกษาตามอธยาศัยอาเภอยางตลาด ได้พฒนาการด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง จนเกิดเป็นนวัตกรรมของ

                                                       ั
               สถานศึกษา คือ คู่มือการจัดกระบวนการเรียนรู้ห้องเรียนสีขาวปลอดยาเสพติดและอบายมุข ด้วยกระบวนการ
                        ิ
               “หลุมพงพง” ส าหรับสถานศึกษาสีขาว และจากการด าเนินงานอย่างต่อเนื่องส่งผลให้ศูนย์การศึกษานอกระบบ
                      ึ่
                                ั
               และการศึกษาตามอธยาศัยอาเภอยางตลาดผ่านการประเมินเป็น ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

               พอเพียง ด้านการศึกษา ปี พ.ศ. 2562 ประจ าปีงบประมาณ 2563
               5.ปัจจัยควำมส ำเร็จ
                       ปัจจัยความส าเร็จ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอยางตลาด สังกัด ส านักงานส่งเสริม

               การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดกาฬสินธุ์
                                                                            ั
                       1. ผู้บริหาร ได้ขับเคลื่อนการด าเนินงานจัดการเรียนรู้และกิจกรรมพฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้านหลักปรัชญาของ
               เศรษฐกิจพอเพยงในสถานศึกษา ใช้หลักการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยยึดหลักธรรมาภิบาล ภายใต้แนวทางของ
                            ี
               ความพอดี ความมีเหตุผลและมีการเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ผู้บริหารที่มีคุณลักษณะของ

               ผู้บริหารพอเพยง  มีการบริหารจัดการสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการก าหนดนโยบาย
                           ี
               วิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนปฏิบัติการของสถานศึกษา และการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างเป็นเหตุ เป็นผล พอประมาณ
                                                                         ื่
               ตลอดจนเป็นแบบอย่างที่ดีในการใช้ความรู้คู่คุณธรรมในการด าเนินชีวิต เพอสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีต่อการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
               ให้กับตนเองและสถานศึกษาอีกทั้งยังมีการขยายผลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชุมชน

                       2. ครู มีการจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน  โดยมุ่งเน้นการศึกษาซึ่งยึดผู้เรียน       เป็น
               ส าคัญมีการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของสถานศึกษาสถานศึกษา จัดท าแผนการจัดการเรียนรู้แบบ
               บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยง  มีการจัดกระบวนการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้สามารถ
                                                   ี
                                                                               ิ
                                                                             ึ่
               อธิบายและน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยงด้วยกระบวนการ“หลุมพงพง” มาปรับใช้ในการเรียน  การสอน
                                                      ี
                                                                                      ื่
               และการด าเนินชีวิตได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมซึ่งมีการติดตามผลการด าเนินการเพอขับเคลื่อนหลักปรัชญาของ
               เศรษฐกิจพอเพียงภายในสถานศึกษาและชุมชน
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13