Page 6 - กศน.อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสินธุ์ ( Best Practice )
P. 6

4


                 6. บทเรียนที่ได้รับ (Lesson Learned)
                        1)  บุคลากรของ  กศน.อำเภอร่องคำ  ตระหนักรู้และสามารถดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

                     ี
                                                                                              ี
                 พอเพยง สามารถจัดทำแผนงาน  โครงการ กิจกรรม โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยง  ทำให้นักศึกษา
                                                                       ิ่
                 และประชาชนได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น  ลดรายจ่าย  เพมรายได้  มีคุณธรรมจริยธรรม  เกิดการแบ่งปัน
                 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้  สามารถบูรณาการร่วมกับเครือข่ายได้เป็นอย่างดี

                        ๒)  บุคลากรของ  กศน.ทั้ง  11  แห่ง ประกอบด้วยกศน.อำเภอเมืองกาฬสินธุ์,  กศน.อำเภอสมเด็จ,
                 กศน.อำเภอห้วยเม็ก, กศน.อำเภอยางตลาด, กศน.อำเภอเขาวงษ์กศน.อำเภอนาคู,  กศน.อำเภอท่าคันโท, กศน.

                 อำเภอกุฉินารายณ์, กศน.อำเภอคำม่วง,  กศน.อำเภอสหัสขันธ์ และกศน.อำเภอห้วยผึ้ง  ตระหนักรู้และสามารถ
                                                        ี
                 ดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยง สามารถจัดทำแผนงาน  โครงการ กิจกรรม โดยยึดหลักปรัชญา
                 ของเศรษฐกิจพอเพียง  ทำให้นักศึกษา และประชาชนได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น  ลดรายจ่าย  เพิ่มรายได้

                 มีคุณธรรมจริยธรรม  เกิดการแบ่งปัน  มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้  สามารถบูรณาการร่วมกับเครือข่ายได้เป็นอย่างดี
                                                ั
                        ข้อเสนอแนะและข้อควรระวงที่เป็นแนวทางในการนำผลงานไปใช้/พัฒนาต่อ หรือดำเนินการให้
                 ประสบผลสำเร็จมากยิ่งขึ้นต่อไป

                        ผู้บริหาร ครูแกนนำสร้างความตระหนักให้บุคลากรเห็นความสำคัญของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                  โดยการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี  พอประมาณ  มีเหตุผล  มีภูมิคุ้มกันที่ดี  ทั้งครอบครัว  มีการพฒนา
                                                                                                          ั
                  บุคลากรให้มีความรู้  ความเข้าในหลักปรัชญา  ประชุมปรึกษาหารือ  แลกเปลี่ยนเรียนรู้  รวมทั้งการศึกษาดูงาน
                  สถานศึกษาที่สามารถนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยงมาใช้ในการปฏิบัติงาน         นำข้อมูลที่ได้มา
                                                                     ี
                  วิเคราะห์  เพื่อหาแนวทางการทำงานร่วมกัน เพื่อให้ทุกพันธกิจงาน ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
                  ตามอัธยาศัยอำเภอ หรือ กศน. อำเภอ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อนักศึกษาและประชาชนในพนที่  โดยได้ดำเนินการ
                                                                                            ื้
                  สำรวจความต้องการของประชาชนแบบบูรณาการพร้อมกันทุกส่วนราชการ  เช่น  สำนักงานเกษตรอำเภอ

                  พัฒนาชุมชนอำเภอ  สาธารณสุขอำเภอ  ตำรวจ  เป็นต้น   ทำให้ได้ข้อมูลสภาพปัจจุบัน ปัญหา  ของประชาชน
                  ในพนที่ ทุกกลุ่มเป้าหมาย  ทุกอาชีพ  ทุกพนที่ในอำเภอ  จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์  จัดหมวดหมู่
                      ื้
                                                      ื้
                                                       ื่
                  และจัดทำแผนงาน  โครงการ  กิจกรรม  เพอเสริมสร้างและพฒนาต่อไป  โดยทุกโครงการ กิจกรรมจะต้องนำ
                                                                      ั
                  หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้
                        สำหรับการจัดการเรียนการสอนนั้น  เน้นย้ำให้ครู  กศน.  สอดแทรกสาระของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

                       ี
                  พอเพยง  ในทุกวิชา  ทุกสาระการเรียนรู้  มีการจัดหลักสูตรที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย  กระบวนการเรียนรู้ที่
                                                                                      ึ
                                                ิ
                  เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  วัดผล  ประเมนผลตามสภาพจริงอย่างต่อเนื่อง  เพื่อให้นักศกษา  กศน. เป็นผู้มีความรู้  มี
                  คุณธรรม  สามารถประพฤติปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีของชาติ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11